ชุด Cernitin สำหรับรักษาโรคเกาต์
: 064-4545524  |  Line ID : @823ijfel
สังซื้อพอลลิติน : Line ID : @823ijfel

โรคเกาต์ (Gout)

โรคเกาต์ (Gout) เป็นโรคข้ออักเสบที่พบในผู้ป่วยที่มีระดับกรดยูริก (uric acid) ในเลือดสูงมาเป็นเวลานาน ซึ่งกรดยูริกที่สูงจะเกิดการตกตะกอนสะสมเป็นผลึกเกลือยูเรตตามเนื้อเยื่อบริเวณต่าง ๆ โดยเฉพาะในข้อและบริเวณรอบข้อ และเมื่อมีปัจจัยบางอย่างมากระตุ้น จะทำให้เกิดอาการข้ออักเสบเฉียบพลันอย่างรุนแรง

อาการของผู้ป่วย

1. ระยะข้ออักเสบกำเริบเฉียบพลัน

ผู้ป่วยจะมีอาการปวดข้อ ร่วมกับข้ออักเสบอย่างรุนแรงบริเวณนิ้วเท้า หลังเท้า ข้อเท้า หรือ ข้อเข่า มักถูกกระตุ้นให้กำเริบด้วยการรับประทานอาหารที่มียูริกสูง เช่น อาหารทะเล เครื่องในสัตว์ ยอดผักบางชนิด รวมทั้งการดื่มสุราหรือแอลกอฮอล์ทุกชนิด หรือได้รับการกระแทกที่บริเวณข้อ อาการข้ออักเสบจะเกิดขึ้นในช่วง 3 – 7 วัน สามารถหายเองได้ แต่อาการจะดีขึ้นอย่างรวดเร็วด้วยการรับประทานยาโคลชิซีน (colchicine) หรือยาในกลุ่มต้านการอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) เช่น ไอบูโพรเฟน (ibuprofen) ไดโคลฟีแนค (diclofenac) อินโดเมทาซิน (indomethacin) เป็นต้น ในระยะแรกอาการข้ออับเสบที่เป็นแต่ละครั้งจะเกิดห่างกันค่อนข้างนาน แต่ถ้ายังไมได้รับการรักษาที่ถูกต้อง อาการข้ออักเสบจะกำเริบถี่ขึ้นเรื่อย ๆ และจำนวนข้อที่อักเสบในแต่ละครั้งจะมากขึ้นกว่าเดิม


2. ระยะมีปุ่มก้อนโทฟัส (CHRONIC TOPHACEOUS GOUT)

เมื่อเวลาผ่านไป ในผู้ป่วยที่ยังไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องจะมีผลึกยูเรตสะสมมากขึ้นจนเกิดเป็นปุ่มก้อนโทฟัส ลักษณะเป็นก้อนแข็งอยู่ใต้ผิวหนัง ผิวขรุขระ สามารถตรวจพบปุ่มก้อนเหล่านี้ได้ที่บริเวณรอบ ๆ ข้อ ตำแหน่งที่พบบ่อย ได้แก่ ใบหู ข้อศอก ตาตุ่ม เอ็นร้อยหวาย นิ้วมือและนิ้วเท้า และผู้ป่วยมักจะมีอาการข้ออักเสบติดต่อกันจนเหมือนเป็นข้ออักเสบเรื้อรัง ในบางรายที่เป็นมากจะมีข้อพิการผิดรูปร่วมด้วยได้ซึ่งเป็นระยะท้ายของโรค การตอบสนองต่อยา NSAIDs หรือ โคลชิซีน จะไม่ดีเท่าเดิม ผู้ป่วยจะมีอาการปวดเกือบตลอดเวลา

ผู้ป่วยที่เป็นโรคเกาต์ อาจจะมีโรคร่วมอื่น ๆ ด้วย เช่น โรคไตวาย นิ่วในทางเดินปัสสาวะ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ

การวินิจฉัยโรคเกาต์ ที่ดีและแม่นยำที่สุด คือ การเจาะน้ำไขข้อจากข้อที่กำลังอักเสบ มาส่งตรวจเพื่อหาผลึกยูเรต แต่หากผู้ป่วยมาพบแพทย์ในขณะที่ไม่มีอาการข้ออักเสบ หรือมีข้ออักเสบแต่ไม่สามารถเจาะข้อได้ การวินิจฉัยจำเป็นต้องอาศัยทั้งประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจเพิ่มเติม เช่น ตรวจเลือดเพื่อดูระดับยูริก การเอกซเรย์ จึงจะสามารถให้การวินิจฉัยที่ถูกต้องได้

ทานครั้งแรกจะปวดมากขึ้นเนื่องจาก Cerminal (ฉลากสีส้ม) จะเป็นตัวช่วยขับถ่ายกรดยูริคออก

วิธีแก้ ควรดื่มน้ำอุ่น และงดอาหารที่มีสารพิวรีนเยอะๆ เช่นเหล้าเบียร์ รวมถึงอาหารไขมันสูง ยาลดความดันโลหิต (ทำให้มีกรดยูริคในเลือดสูง) การทานอาหารที่มีสารพิวรีนเยอะจะทำให้ร่างกายขับกรดยูริคได้ยาก

 

ชายวัยกลางคนเป็นโรคเก๊าท์ถึง 90 เปอร์เซ็นต์

หญิงวัยหมดประจำเดือนเป็นโรคเก๊าท์ถึง 10%  

ทานเซอร์นิตินและดื่มน้ำเยอะๆ

 

ควรทานเซอร์นิติน สีน้ำตาล ส้ม เขียว และวีทกราส

 

Additional Info

  • ขนาดบรรจุ: 4 กระปุก
Read 1736 times